fbpx

โปรโมชั่นติดตั้งฯงานบ้านพักอาศัย จากมาตรฐาน ทีมงานโซล่าฮับ 2568

35,10,0,50,1
25,600,60,0,3000,5000,25,800
90,150,1,50,12,30,50,1,70,12,1,50,1,1,1,5000
0,0,0,0,0,40,15,5,2,1,0,18,0,1
Packet A + Packet B
Packet A + Packet B
Packet C + Packet D
Packet C + Packet D
Packet E +Packet F
Packet E +Packet F

VDO Animation เปรียบเทียบการจับยึดแผง บนหลังคาเมทัลชีท แบบสกรูยึด (อันนี้ไม่รวมกรณี หลังเมทัลชีท แบบคลิปล็อก เพราะตัวจับยึด วางบนสันลอน ไม่ได้ใช้สกรูจับยึดบนแป ) . โดยแยกการจับยึดแผง เป็น 2 แนวทาง

 

 

1. ยึด Rail ขวางลอน (ฝั่งซ้าย) ข้อจำกัด คือต้องยึด Rail ตามระยะของแป ซึ่งหากระยะแป และขนาดแผง ไม่สัมพันธ์ กัน อาจทำให้ ยึดแผงไม่ตรงตามสเป็ค แผงที่กำหนด .

2. ยึด Rail ตามลอน (ฝั่งขวา) ยึดRail ได้โดยไม่มีข้อจำกัดระยแป เพราะเรายึดRail ตามแป ซึ่งทำให้ยึดRail ได้ตามสเป็คแผง (แต่ใช้Mounting มากกว่า โดยโซล่าฮับจะวางแบบนี้) .

ท้ายนี้ ก็ลองเลือกพิจารณาดูว่า ควรจะจับยึดแผง แบบใด ก็สุดแล้วแต่ท่านจะพิจารณา สำหรับ โซล่าฮับ จะวางRail ตามลอน (ตามรูปฝั่งขวา) ที่ต้นทุนสูงขึ้นมาหน่อย แต่สามารถจับยึดแผง ได้ตามต้องการ โดยสอดคล้องกับสเป็คของแผง . ด้วยความปรารถนาดี จากใจ ทีมงาน โซล่าฮับ ^L^' ข้อมูล ความรู้ระบบโซล่าเซลล์ มากสุดในเมืองไทย www.solarhub.co.th